Power Supply มี 2 แบบ
แบบที่ 1. แบบ Linear มีหม้อแปลงใหญ่ขนาดใหญ่ ตัดวงจรโดย Fuse
แบบที่ 2. แบบ Switching มี Transistor ทำหน้าที่ตัดวงจร
2.1 แบบ XT มีขนาดใหญ่ มีหัวเดียว 12 เส้น มี Switch ปิด-เปิดอยู่ด้านหลัง Power Supply
2.2 แบบ AT เล็กกว่า XT มีหัวเสียบ 2 หัว คือ P8 , P9 มีสวิทช์ปิด-เปิดโยงจาก Power Supply มายังหน้า Case (ราคาประมาณ 450 บาท)
2.3 แบบ ATX มีหัวเสียบเดียว 20 เส้น ไม่มี Switch ปิด-เปิด เมื่อสั่ง Shut Down จาก Program เครื่องจะปิดเองโดยอัติโนมัติ (ราคาประมาณ 600-800 บาท)
* ถ้าต้องการตรวจสอบการใช้งานในขณะที่ไม่ได้ต่อกับ Mainboard ให้ Jump สายสีเทา (หรือสีเขียว) กับสีดำ พัดลมของ Power Supply จะหมุน แสดงว่าใช้งานได้
การใช้มิเตอร์วัดไฟ Power Supply
ดำ + ดำ = 0 V
ดำ + แดง = 5 V
ดำ + ขาว = -5 V
ดำ + น้ำเงิน = -12 V
ดำ + ส้ม = 5 V
ดำ + เหลือง = 3.3 V
ดำ + น้ำตาล = 12 V
* เข็มมิเตอร์ตีกลับ ให้กลับสาย ใช้ค่า ติด -
*AC=220 V (L กับ N)
L1 380 Vac
L2 380 Vac
L3 380 Vac
N Nutron , G ไม่มีไฟ
*230W (23A) - 300W (30A)
โดย W=V*I
ส่วนของ Power Supply ที่สามารถตรวจซ่อมได้
1. Fuse
2. Bridge
3. Switching
4. IC Regulator
5. C ตัวใหญ่
6. IC
Chart ประกอบการตรวจเช็ค Power Supply
วงจรเพาเวอร์ซัพพลาย (Block Diagram)
วิเคราะห์อาการเสียของ Power Supply อย่างง่ายๆ
พาวเวอร์ซัพพลาย (power supply)
อุปกรณ์ที่สำคัญอีกชิ้นหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุก
ชนิด (ไม่ใช่เฉพาะคอมพิวเตอร์นะครับ) หน้าที่โดยรวมๆ
ของพาวเวอร์ซัพพลาย คือการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ต่างๆ
เพื่อให้มันทำงานได้
ถ้าจะให้เปรียบก็คงเหมือนกับระบบย่อยอาหารของคนเรานั่นแหละครับ
<>
มัลติมิเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือแบบที่เป็นเข็ม
และแบบตัวเลข (Digital) แบบที่เป็นเข็มนั้นมีราคาค่อนข้างถูก
แต่ว่าความเที่ยงตรงจะไม่ค่อยมี
ส่วนแบบดิจิตอลนั้นความเที่ยงตรงมีมากกว่า
แต่ราคาก็สูงตามไปด้วย
สำหรับมือใหม่หัดซ่อมอย่างเราก็เล่นแบบเข็มก็พอครับ
<>
พาวเวอร์ซัพพลาย ทั้งแบบ AT และ ATX
นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกัน คือรับแรงดันไฟจาก 220-240
โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT และเมนบอร์ด
แล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output
เพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์ และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์
อีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ
220 โวลต์ ให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ
ระบบนี้เรียกว่า (Switching power supply )
และผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ
โดยจะฝ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ
่งให้เป็น 5 และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่างๆ
โดยความสามารถพิเศษของ Switching power supply ก็คือ มีชุด
Switching
ที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัว
หนึ่งชำรุดเสียหาย หรือช็อตนั่นเอง
<>
<>
เปิดแล้ว พัดลมไม่หมุนแต่เครื่องติด
เปิดแล้วเครื่องไม่ติดพัดลมไม่หมุน
<>
พาวเวอร์ซัพพลาย (power supply)
อุปกรณ์ที่สำคัญอีกชิ้นหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุก
ชนิด (ไม่ใช่เฉพาะคอมพิวเตอร์นะครับ) หน้าที่โดยรวมๆ
ของพาวเวอร์ซัพพลาย คือการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ต่างๆ
เพื่อให้มันทำงานได้
ถ้าจะให้เปรียบก็คงเหมือนกับระบบย่อยอาหารของคนเรานั่นแหละครับ
<> |
พาวเวอร์ซัพพลายของคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะการทำงาน
คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก 220 โวลต์ เป็น 5 โวลต์ และ 12
โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้นๆ
โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2
ชนิดตามเคส คือแบบ AT และแบบ ATX
ส่วนมากอาการเสียที่มักจะสันนิษฐานว่า เกิดจากพาวเวอร์ซัพพลาย
ก็คือ การเปิดเครื่องแล้วไม่ติด
พัดลมด้านหลังของพาวเวอร์ซัพพลายไม่หมุน
ในกรณีนี้ถ้าเราไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า
ที่เรียกว่ามัลติมิเตอร์
เราจะไม่สามารถหาพบได้เลยว่าพาวเวอร์ซัพพลายเสียที่จุดใด
คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก 220 โวลต์ เป็น 5 โวลต์ และ 12
โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้นๆ
โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2
ชนิดตามเคส คือแบบ AT และแบบ ATX
ส่วนมากอาการเสียที่มักจะสันนิษฐานว่า เกิดจากพาวเวอร์ซัพพลาย
ก็คือ การเปิดเครื่องแล้วไม่ติด
พัดลมด้านหลังของพาวเวอร์ซัพพลายไม่หมุน
ในกรณีนี้ถ้าเราไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า
ที่เรียกว่ามัลติมิเตอร์
เราจะไม่สามารถหาพบได้เลยว่าพาวเวอร์ซัพพลายเสียที่จุดใด
รู้จักมัลติมิเตอร์
มัลติมิเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือแบบที่เป็นเข็ม
และแบบตัวเลข (Digital) แบบที่เป็นเข็มนั้นมีราคาค่อนข้างถูก
แต่ว่าความเที่ยงตรงจะไม่ค่อยมี
ส่วนแบบดิจิตอลนั้นความเที่ยงตรงมีมากกว่า
แต่ราคาก็สูงตามไปด้วย
สำหรับมือใหม่หัดซ่อมอย่างเราก็เล่นแบบเข็มก็พอครับ
<> |
มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ใช้วัดได้ทั้งไฟตรง ไฟสลับ สายไฟ และความต้านทาน ราคา ถูกแต่ไม่ค่อยแม่นยำนัก | <>
เอาละ เรามาดูวิธีการใช้มัลติมิเตอร์แบบง่ายๆ กันเลย
ก่อนอื่นให้คุณนำสายสีแดงเสียบในช่องที่เป็นสีแดง
และนำสายสีดำเสียบในช่องที่เป็นสีดำ (อย่าสลับกันนะครับ)
หน่วยวัดของมัลติมิเตอร์นั้น จะมีหน่วยเป็นโอห์ม
หมายถึงค่าของความต้านทานของตัวนำนั่นเอง
ตัวนำที่ดีที่สุดจะต้องไม่มีความต้านทานอยู่เลย
ก่อนอื่นให้คุณนำสายสีแดงเสียบในช่องที่เป็นสีแดง
และนำสายสีดำเสียบในช่องที่เป็นสีดำ (อย่าสลับกันนะครับ)
หน่วยวัดของมัลติมิเตอร์นั้น จะมีหน่วยเป็นโอห์ม
หมายถึงค่าของความต้านทานของตัวนำนั่นเอง
ตัวนำที่ดีที่สุดจะต้องไม่มีความต้านทานอยู่เลย
ส่วนถัดมาของมัลติมิเตอร์ คือส่วนที่ใช้วัดไฟฟ้ากระแสตรง หรือ
DC โวลต์ สายไฟในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะถูกจ่ายออกมาเป็น 2
แรงดันคือ สายสีแดงจ่ายไฟ 5 โวลต์ และสายสีเหลือง จ่ายไฟ 12
โวลต์ เวลาที่คุณต้องการวัดว่า
มีกระแสไฟออกมาจากพาวเวอร์ซัพพลายหรือไม่
ให้คุณปรับตัวบิดไปที่ตัวเลขที่ใกล้เคียงสูงกว่า
สายเส้นที่คุณจะวัด เช่น คุณต้องการวัดสายแดงที่จ่ายไฟ 5 โวลต์
ให้คุณปรับไปที่เลข 10 เพื่อป้องกันมัลติมิเตอร์พัง
เพราะกระแสเกิน
DC โวลต์ สายไฟในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะถูกจ่ายออกมาเป็น 2
แรงดันคือ สายสีแดงจ่ายไฟ 5 โวลต์ และสายสีเหลือง จ่ายไฟ 12
โวลต์ เวลาที่คุณต้องการวัดว่า
มีกระแสไฟออกมาจากพาวเวอร์ซัพพลายหรือไม่
ให้คุณปรับตัวบิดไปที่ตัวเลขที่ใกล้เคียงสูงกว่า
สายเส้นที่คุณจะวัด เช่น คุณต้องการวัดสายแดงที่จ่ายไฟ 5 โวลต์
ให้คุณปรับไปที่เลข 10 เพื่อป้องกันมัลติมิเตอร์พัง
เพราะกระแสเกิน
อีกส่วนของมัลติมิเตอร์ ก็คือส่วนที่ใช้วัดไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
โดยปกติแล้วไฟบ้านเราจะใช้แรงดันไฟที่ 220 โวลต์
ใช้ในเวลาที่คุณต้องการจะวัดสายไฟที่ต่อออกจากไฟบ้านเข้าพาวเวอ
ร์ซัพพลายว่ามีไฟเข้าหรือไม่
โดยปกติแล้วไฟบ้านเราจะใช้แรงดันไฟที่ 220 โวลต์
ใช้ในเวลาที่คุณต้องการจะวัดสายไฟที่ต่อออกจากไฟบ้านเข้าพาวเวอ
ร์ซัพพลายว่ามีไฟเข้าหรือไม่
หลักการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลาย
พาวเวอร์ซัพพลาย ทั้งแบบ AT และ ATX
นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกัน คือรับแรงดันไฟจาก 220-240
โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT และเมนบอร์ด
แล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output
เพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์ และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์
อีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ
220 โวลต์ ให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ
ระบบนี้เรียกว่า (Switching power supply )
และผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ
โดยจะฝ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ
่งให้เป็น 5 และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่างๆ
โดยความสามารถพิเศษของ Switching power supply ก็คือ มีชุด
Switching
ที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัว
หนึ่งชำรุดเสียหาย หรือช็อตนั่นเอง
<> |
รายละเอียดต่างๆ ของมัลติมิเตอร์ | <>
<> |
ส่วนประกอบต่างๆ ของพาวเวอร์ซัพพลาย และหน้าที่การทำงาน | <>
เอาละครับ เรารู้หลักการทำงานคร่าวๆ ของ Power supply แล้ว
เรามาดูถึงอาการเสียที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ถ้าจะวิเคราะห์อาการเสียอย่างง่ายๆ ก็มี เช่น
เรามาดูถึงอาการเสียที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ถ้าจะวิเคราะห์อาการเสียอย่างง่ายๆ ก็มี เช่น
หากอาการแบบนี้ให้คุณทราบไว้เลยว่า
พัดลมระบายความร้อนในพาวเวอร์ซัพพลายของคุณนั้นมันเกิดอาการเสี
ยซะแล้ว อาจเป็นเพราะเกิดการฝืดเนื่องจากมีฝุ่น
หรือหยากไย่เข้าไปค้างอยู่ หากปล่อยไว้นานๆ ก็อาจทำให้
พาวเวอร์ซัพพลายของคุณพังได้ วิธีแก้ก็คือให้คุณ
ตัดเอาพัดลมพร้อมสายไฟออกแล้วเดินไปที่ร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอ
นิกส์ (แถวบ้านหม้อก็ได้)
แล้วยื่นพัดลมให้คนขายดูเขาก็จะหยิบตัวใหม่ที่เหมือนกันเปี๊ยบม
าให้คุณ คุณก็เอากลับไปต่อกับตัวพาวเวอร์ได้เหมือนเดิม
แต่บอกไว้ก่อนนะครับว่า
ราคาพัดลมกับพาวเวอร์ซัพพลายตัวใหม่นั้นมีราคาใกล้เคียงกันมากท
ีเดียว แต่ลองหัดซ่อมดูก็ไม่ใช่เรื่องเสียหายนะครับ
พัดลมระบายความร้อนในพาวเวอร์ซัพพลายของคุณนั้นมันเกิดอาการเสี
ยซะแล้ว อาจเป็นเพราะเกิดการฝืดเนื่องจากมีฝุ่น
หรือหยากไย่เข้าไปค้างอยู่ หากปล่อยไว้นานๆ ก็อาจทำให้
พาวเวอร์ซัพพลายของคุณพังได้ วิธีแก้ก็คือให้คุณ
ตัดเอาพัดลมพร้อมสายไฟออกแล้วเดินไปที่ร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอ
นิกส์ (แถวบ้านหม้อก็ได้)
แล้วยื่นพัดลมให้คนขายดูเขาก็จะหยิบตัวใหม่ที่เหมือนกันเปี๊ยบม
าให้คุณ คุณก็เอากลับไปต่อกับตัวพาวเวอร์ได้เหมือนเดิม
แต่บอกไว้ก่อนนะครับว่า
ราคาพัดลมกับพาวเวอร์ซัพพลายตัวใหม่นั้นมีราคาใกล้เคียงกันมากท
ีเดียว แต่ลองหัดซ่อมดูก็ไม่ใช่เรื่องเสียหายนะครับ
หากเกิดอาการอย่างนี้อย่าเพิ่งสรุปนะครับว่า
พาวเวอร์ซัพพลายของคุณเสีย
เพราะอย่างที่บอกไว้ในหัวข้อข้างต้นก็คือ Power supply แบบ
Switching นั้น
สามารถที่จะตัดกระแสไฟได้ถ้าหากมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟจากตัวมันไปช
ำรุด
ดังนั้นวิธีเช็กก็คือให้คุณถอดอุปกรณ์ที่โหลดไฟจากพาวเวอร์ซัพพ
ลายทั้งหมดออกมาก่อนแล้วเปิดดู หากพัดลมติด
และใช้มัลติมิเตอร์วัดดู
ถ้าเข็มแสดงว่ามีไฟเลี้ยงเข้าแสดงว่าอุปกรณ์ชิ้นใดชิ้นหนึ่งของ
คุณนั้นเกิดอาการชำรุดหรือช็อต
วิธีทดสอบก็คือให้เสียบไฟโหลดนั้นทีละตัว
แล้วเปิดดูหากอุปกรณ์ชิ้นไหนชำรุดพาวเวอร์ซัพพลายก็จะไม่หมุน
(ตัวอย่างที่พบกันบ่อยๆ ก็คือคุณประกอบเมนบอร์ดเข้ากับตัวเคส
โดยที่ไม่ได้ใช้แผ่นโฟมหรือขาพลาสติกรอง
ทำให้ลายวงจรของเมนบอร์ด
เกิดการสัมผัสกับตัวเคสที่เป็นตัวนำไฟฟ้าทำให้เกิดการลัดวงจรขึ
้น
ดังนั้นถ้าเกิดกรณีอย่างนี้ให้คุณรีบปิดตัวพาวเวอร์ซัพพลายโดยเ
ร็ว และใช้แผ่นโฟมหรือแหวนรองน็อต
ใส่ก่อนทุกครั้งที่ประกอบเครื่องลงเคส
ไม่งั้นคุณอาจต้องน้ำตาร่วงเพราะเสียเงินซื้อเมนบอร์ดใหม่)
พาวเวอร์ซัพพลายของคุณเสีย
เพราะอย่างที่บอกไว้ในหัวข้อข้างต้นก็คือ Power supply แบบ
Switching นั้น
สามารถที่จะตัดกระแสไฟได้ถ้าหากมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟจากตัวมันไปช
ำรุด
ดังนั้นวิธีเช็กก็คือให้คุณถอดอุปกรณ์ที่โหลดไฟจากพาวเวอร์ซัพพ
ลายทั้งหมดออกมาก่อนแล้วเปิดดู หากพัดลมติด
และใช้มัลติมิเตอร์วัดดู
ถ้าเข็มแสดงว่ามีไฟเลี้ยงเข้าแสดงว่าอุปกรณ์ชิ้นใดชิ้นหนึ่งของ
คุณนั้นเกิดอาการชำรุดหรือช็อต
วิธีทดสอบก็คือให้เสียบไฟโหลดนั้นทีละตัว
แล้วเปิดดูหากอุปกรณ์ชิ้นไหนชำรุดพาวเวอร์ซัพพลายก็จะไม่หมุน
(ตัวอย่างที่พบกันบ่อยๆ ก็คือคุณประกอบเมนบอร์ดเข้ากับตัวเคส
โดยที่ไม่ได้ใช้แผ่นโฟมหรือขาพลาสติกรอง
ทำให้ลายวงจรของเมนบอร์ด
เกิดการสัมผัสกับตัวเคสที่เป็นตัวนำไฟฟ้าทำให้เกิดการลัดวงจรขึ
้น
ดังนั้นถ้าเกิดกรณีอย่างนี้ให้คุณรีบปิดตัวพาวเวอร์ซัพพลายโดยเ
ร็ว และใช้แผ่นโฟมหรือแหวนรองน็อต
ใส่ก่อนทุกครั้งที่ประกอบเครื่องลงเคส
ไม่งั้นคุณอาจต้องน้ำตาร่วงเพราะเสียเงินซื้อเมนบอร์ดใหม่)
<> |
วิธีวัดพาวเวอร์ซัพพลาย ถ้ามีเข็มขึ้น แสดงว่าพาวเวอร์ซัพพลายของคุณปกติ | <>
สาเหตุหนึ่งน่าจะเกิดจากการที่ฟิวส์ที่อยู่ภาพในตัวพาวเวอร์ซัพ
พลายเองขาด วิธีดูว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ก็ให้ดูด้วยตาเปล่า
หรือถ้ามีเขม่าจบในฟิวส์มากๆ
ก็ให้ถอดฟิวส์ออกมาวัดโดยวัดจากค่าความต้านทานในฟิวส์
ตรงนี้คุณต้องถอดออกมาจากวงจรนะครับ ถึงจะวัดได้
ถ้าไม่มีความต้านทานขั้นก็แสดงว่าฟิวส์ขาด แต่ถ้าฟิวส์ไม่ขาด
แล้วยังไม่มีไฟเข้าที่พาวเวอร์ซัพพลายอีก สาเหตุน่าจะมาจาก
สายไฟที่คุณใช้ต่อไฟกระแสสลับเข้าสู่ไฟบ้านมีอาการชำรุด ขาดใน
หรือแผงวงจรร หรือ
อุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งของพาวเวอร์ซัพพลายเกิดความเสียหาย
พลายเองขาด วิธีดูว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ก็ให้ดูด้วยตาเปล่า
หรือถ้ามีเขม่าจบในฟิวส์มากๆ
ก็ให้ถอดฟิวส์ออกมาวัดโดยวัดจากค่าความต้านทานในฟิวส์
ตรงนี้คุณต้องถอดออกมาจากวงจรนะครับ ถึงจะวัดได้
ถ้าไม่มีความต้านทานขั้นก็แสดงว่าฟิวส์ขาด แต่ถ้าฟิวส์ไม่ขาด
แล้วยังไม่มีไฟเข้าที่พาวเวอร์ซัพพลายอีก สาเหตุน่าจะมาจาก
สายไฟที่คุณใช้ต่อไฟกระแสสลับเข้าสู่ไฟบ้านมีอาการชำรุด ขาดใน
หรือแผงวงจรร หรือ
อุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งของพาวเวอร์ซัพพลายเกิดความเสียหาย
สำหรับในกรณีแรกให้คุณลองหาสายไฟมาเปลี่ยนดู
แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง ก็เปลี่ยนพาวเวอร์ซัพพลายใหม่เถอะครับ
ไม่ต้องเสียเวลาซ่อมเพราะมันไม่คุ้ม อ้อ
ก่อนการลงมือซ่อมพาวเวอร์ซัพพลายทุกครั้งอย่าลืมว่าต้องใส่รองเ
ท้าหนาๆ ด้วยนะครับ เพื่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของตัวคุณเอง
แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง ก็เปลี่ยนพาวเวอร์ซัพพลายใหม่เถอะครับ
ไม่ต้องเสียเวลาซ่อมเพราะมันไม่คุ้ม อ้อ
ก่อนการลงมือซ่อมพาวเวอร์ซัพพลายทุกครั้งอย่าลืมว่าต้องใส่รองเ
ท้าหนาๆ ด้วยนะครับ เพื่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของตัวคุณเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น